กุมภาพันธ์ 18, 2564 | หน้าเว็บ
เป้าประสงค์
บริหารจัดการที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ
เกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดินมีคุณภาพชิวิตที่ดีขึ้น
พื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดินได้รับการพัฒนาให้มีการใช้ประโยชน์สูงสุด
การดำเนินงานปฏิรูปที่ดินได้รับการสนับสนุนจากกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพือเกษตรกรรม
ผลผลิต
ผลผลิตที่ 1 เกษตรกรได้รับการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม
1. จัดที่ดิน
1.1 จัดที่ดินทำกิน 800,000 ไร่/53,000 ราย
1.2 จัดที่ดินชุมชน 1,000 ชุมชน /70,000 ราย
1.3 พัฒนาสิทธิ 200,000 ราย
2. แผนแม่บทการพัฒนาพื้นที่ปฏิรูปที่ดิน (การศักษาพัฒนาแหล่งน้ำ) 7 จังหวัด 600,000 ไร่
3. ปลูกไม้เศรษฐกิจในเขตปฏิรูปที่ดิน 10,000 ไร่
ผลผลิตที่ 2 เกษตรกรได้รับการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพและสร้างมูลค่าที่ทำกิน
1. พัฒนาเกษตรกร 3,130 ราย
1.1 พัฒนาเกษตรกรในคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินระดับจังหวัด 280 ราย 69 จว.
1.2 สร้างและพัฒนาอาสาปฏิรูปที่ดิน (อสปก.) 2,400 ราย
1.3 พัฒนาเกษตรกรในสถาบันเกษตรกร 450 ราย
2. การสร้างความร่วมมือไตรภาคี 250 ตำบล 2,500 ราย
3. สานฝันยุวเกษตรกรในโรงเรียนขยายโอกาส 400 โรงเรียน/20,000 ราย
4. นิคมการเกษตร 8 นิคม
5. การสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ 6,000 ราย
6. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน
6.1 จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ 400 แห่ง
6.2 พัฒนาองค์ความรู้และศักยภาพศูนย์เรียนรู้ 40,000 ราย
7. นิคมเศรษฐกิจพอเพียง 15 นิคม
8. โครงการพระราชดำริ 11 โครงการ 2,230 ราย
9. ศูนย์บริการประชาชนเคลื่อนที่ 400 ตำบล
10. พัฒนาองค์ความรู้โดยใช้กระบวนการวิสาหกิจชุมชน 8,000 ราย
โครงการที่ 1 โครงการเงินกู้เพื่อฟื้นฟูสภาพแวดล้อมฯ (OECF)
1.โครงการเงินกู้เพื่อฟื้นฟูสภาพแวดล้อมฯ (OECF)
1.1 ติดตามงานสรุปบทเรียนประเมินผลโครงการ